
Phenomenal-based Learning
มากกว่า Project-Based Learning ก็คือ Phenomenal-Based Learning (PhBL) การเรียนรู้แบบเป็นโปรเจค ที่เน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นแก่นการศึกษาของฟินแลนด์ ที่ทำให้ทุกๆ วันคือการเรียนรู้ที่แสนสนุกของเด็กๆ และให้ทักษะที่สำคัญติดตัวกับเด็กไปตลอด นั่นคือการเป็น "นักเรียนรู้ตลอดชีวิต"

สอนเด็กให้รักการเรียนรู้มากกว่าที่เคย ด้วย Phenomenal-based Learning จากฟินแลนด์
นิสัย ‘รักการเรียนรู้’ ควรสร้างตั้งแต่เด็กๆเพื่อให้เด็กเติบโตไปเป็นนักเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง มี Growth Mindset ที่ดี รักและเห็นคุณค่าในตัวเองได้ ทั้งหมดนี้ที่ฟินแลนด์มีวิธีฝึกเด็กๆ แบบ ‘Phenomenal-Based Learning’ เน้นการเรียนรู้ มากกว่าการสอน เข้าใจกระบวนการเรียนรู้และส่งเสริมทักษะขั้นสูงของสมอง
กระบวนการเรียนรู้นี้ มี 9 ขั้นตอนและเน้นเด็กเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริงได้แก่
- Mind Map
- Planning
- PDCA
- Experience
- Tracking system
- Self-Evaluation
- Sharing
- Conclusion & Record
- Lifelong Learner
ทั้งหมดนี้ เด็กได้คิดเอง เลือกลงมือทำเองไม่มีการประเมินโดยครู แต่เด็กประเมินเอง เพราะสุดท้าย กระบวนการนี้เป็นการสร้างให้เด็กเป็นเจ้าของการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Lifelong Learner)
นอกจากนี้ยังมีการบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาต่างๆช่วยให้ผู้เรียนเชื่อมโยงแต่ละวิชาเข้าด้วยกันด้วยทักษะการเรียนรู้ซึ่งนำไปใช้ได้จริง และส่งเสริมให้นักเรียนได้อภิปรายความคิดของตนเอง เปิดพื้นที่ให้เด็กตั้งคำถาม คิดสงสัย และสืบเสาะหาคำตอบด้วยตัวเองจนได้คำตอบในที่สุด
คลาส Phenomenal Based Learning ดีอย่างไร?

คลาสนี้เหมาะกับใคร

พ่อแม่ ผู้ปกครอง

ครู ครูติวเตอร์

บุคคลทั่วไป
- ครูทุกระดับชั้น ทั้งครูโรงเรียนรัฐบาล เอกชน และครูโรงเรียนทางเลือก
- ครูติวเตอร์ ครูสอนพิเศษ ทุกสาขาวิชา
- อาจารย์ระดับมหาวิทยาลัย เพื่อเข้าใจนักศึกษามากขึ้น
- พ่อแม่ ผู้ปกครอง ที่อยากเข้าใจแนวทางใหม่ที่เหมาะ กับเด็กๆ ในยุค 4.0 และนำเทคนิคมาสอนลูกหลาน
- บุคคลทั่วไป ที่มีหัวใจของครู สนใจพัฒนาทักษะการเป็น ครูในยุค 4.0
- ผอ. ผู้บริหารโรงเรียน เจ้าของโรงเรียนทั่วประเทศ
- โค้ชในด้านต่างๆ ที่อยากช่วยเหลือเด็กไทย
- บุคลากรทางการศึกษา
- โรงเรียน ที่สนใจส่งครูมาอบรม
สิ่งที่จะได้เรียนรู้
1. Phenomenal Based Learning คืออะไร
2. บทบาทของครูใน Phenomenal Based Leanring
3. ความได้เปรียบ ข้อจำกัด เมื่อเปรียบเทียบกับโมเดลการเรียนการสอนแบบอื่น
4. การเลือก ค้นหาปัญหา แรงจุงใจ และกำหนดหัวข้อสำหรับ PhBL
5. เครื่องมือสำหรับการสอนด้วย PhBL
6. การจัดการห้องเรียน PhBL
7. การสอน PhBL อย่างไร ไม่ให้กระทบกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
เสียงตอบรับจากพ่อแม่ และ ครู









